วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การหาเวกเตอร์ลัพธ์



การรวมเวกเตอร์ หมายถึง การบวกหรือลบกันของเวกเตอร์ตั้งแต่ 2 เวกเตอร์ ขึ้นไป ผลลัพธ์ที่ได้เป็นปริมาณเวกเตอร์ เรียกว่า เวกเตอร์ลัพธ์ (Resultant Vector) ซึ่งพิจารณาได้ ดังนี้

1.1 การบวกเวกเตอร์โดยวิธีการเขียนรูป ทำได้โดยเขียนเวกเตอร์ที่เป็นตัวตั้ง จากนั้นเอาหางของเวกเตอร์ที่เป็นผลบวกหรือผลต่าง มาต่อกับหัวของเวกเตอร์ตัวตั้ง โดยเขียนให้ถูกต้องทั  อ่านเพิ่มเติม

ปริมาณทางฟิสิกส์


ปริมาณ (Quantity)

วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาทดลอง จดบัทึกมารวบรวมเป็นกฎ ทฤษฎี เพื่อเป็นความรู้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งการศึกษาวิทยาศาสร์เป็นการศึกษา2 ส่วนคือ เชิงคุณภาพ อ่านเพิ่มเติม

การเคลื่อนที่แนวตรง



แรงและการเคลื่อนที่
1. เวกเตอร์ของแรง
แรง (force) หมายถึง สิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้
ปริมาณทางฟิสิกส์ มี 2 ชนิด คือ
1. ปริมาณเวกเตอร์ (vector quality) หมายถึง ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เช่น แร อ่านเพิ่มเติม

ค่าความไม่แน่นอน


ก่อนเริ่มการคำนวณจะต้องมีความเข้าใจว่าค่าความไม่แน่นอนของแต่ละ input นั้นจะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน และมีระดับของความเชื่อมั่นเดียวกันถึง
จะสามารถรวมกันเข้าไปได้ สิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจไว้ก่อนประกอบด้วย

1 ความไม่แน่นอนมาตรฐาน (Standard Uncertainty)

ขนาดของความไม่แน่นอนมาตรฐานจะมีค่าเท่ากับบวก หรือ ลบ 1 ซิกม่า (1 ความเบ  อ่านเพิ่มเติม

การคูณและการหารเลขนัยสําคัญ




การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ ให้ใช้วิธีการคูณและหารเหมือนทางคณิตศาสตร์ก่อน แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ โดยผลลัพธ์จะต้องมีจำนวนเลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนเลขนัยสำคัญของตัวคูณหรือตัวหารที่น้อยที่สุด เช่น

(1) 432.10 x 5.5 = 2376.55
ปริมาณ 432.10 มีจำนวนเลขนั อ่านเพิ่มเติม

การบวกลบเลขนัยสําคัญ

การบวกและการลบเลขนัยสำคัญ ให้บวกลบแบบวิธีการทางคณิตศาสตร์ก่อน แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ โดยผลลัพธ์ของเลขนัยสำคัญที่ได้ต้องมีตำแหน่งทศนิยมละเอียดเท่ากับปริมาณที่มีความละเอียดน้อยที่สุด เช่น

(1) 2.12 + 3.895 + 5.4236 = 11.4386
ปริมาณ 2.12 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 2
3.895 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3
5.4236 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่  อ่านเพิ่มเติม

เลขนัยสำคัญ



เลขนัยสำคัญ (significant figure) คือ จำนวนหลักของตัวเลขที่แสดงความเที่ยงตรงของปริมาณที่วัดหรือคำนวณได้ ดังนั้นตัวเลขนัยสำคัญจึงประกอบด้วยตัวเลขทุกตัวที่แสดงความแน่นอน (certainty) รวมกับตัวเลขอีกตัวหนึ่งที่แสดงความไม่แน่นอน (uncertainty) ซึ่งขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่เราเลื อ่านเพิ่มเติม